AI-MHT_KV-2400x800
AI-MHT_KV-1020x880
การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์
เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์
สู่จักรวาลนฤมิตร

Artificial Intelligent Platform Development
for Metaverse Historical Tourism: AI-MHT

       การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร เป็นการบูรณาการองค์ความรู้เทคโนโลยีด้านปัญญาประดิษฐ์ ระบบจำลองเสมือนจริง การท่องเที่ยวชุมชน การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ร่วมกับข้อมูลประวัติศาสตร์และอารยธรรมสุวรรณภูมิ โดยมีเป้าหมายพัฒนาวิธีการและเครื่องมือในการเผยแพร่ข้อมูลประวัติศาสตร์สุวรรณภูมิผ่านระบบออนไลน์และอินเตอร์เน็ตในรูปแบบการท่องเที่ยวเสมือนจริงไปยังนานาชาติตลอดจนเพื่อผลักดันให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ อันจะนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจในชุมชนที่เกี่ยวข้องได้

โครงการ

demo-proj-1-Journey
Suvarnabhumi สุวรรณภูมิ
A Journey through the Golden Peninsula
การศึกษาและรวบรวมข้อมูลประวัติศาสตร์สุวรรณภูมิที่เกี่ยวกับเส้นทางข้ามคาบสมุทรภาคใต้ตอนบน และพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวข้ามคาบสมุทรจังหวัดระนอง-ชุมพร
demo-proj-2-LSTPedia
KGen for Historical Data
สารานุกรมออนไลน์
LSTPedia, Knowledge Graph, and Navanurak Data
การพัฒนาแพลตฟอร์มแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปกราฟความรู้ จัดเก็บลงในแพลตฟอร์มนวนุรักษ์ และเผยแพร่ในรูปแบบเว็บสารานุกรมข้อมูล Wikipedia
demo-proj-3-LanGTa
LanG-Ta แหลง-ต๊ะ
Land of Gold-Talk คุยเฟื่องเรื่องสุวรรณภูมิ
การพัฒนาแชตบอทถามตอบเกี่ยวกับเส้นทางการท่องเที่ยวข้ามคาบสมุทรจังหวัดระนองและชุมพร
demo-proj-4-SimiLand
SimiLand สิมิลันด์
Text Similarity for Land of History
การพัฒนาระบบวิเคราะห์ความเหมือนความต่างของข้อมูลประวัติศาสตร์
demo-proj5-Golden Land
Online Game เกมออนไลน์
Golden Land: the Journey of Beads
การพัฒนาเกมออนไลน์ สนับสนุนการท่องเที่ยวสำหรับชุมชนประวัติศาสตร์สุวรรณภูมิ
SuTRA ท่องเที่ยวเส้นทางศุทรา
A Trip to the Suvarnabhumi Trade Route Area
การพัฒนานวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บริเวณเส้นทางการค้าดินแดนสุวรรณภูมิ (ท่องเที่ยวเส้นทางศุทรา)

แกลเลอรี่

Slide

ปากน้ำชุมพร

ถ้ำรับร่อ

เขาสามแก้ว

บ้านร้อยปีเทียนสือ

Slide

วัตถุโบราณ บ้านในวงเหนือ

บ่อน้ำร้อนรักษะวาริน

ลูกปัดโบราณ

ร้านอาหารคุ้นลิ้น

Slide

ชุมชนประมงปากน้ำชุมพร

หม้อและเตาสามขา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติชุมพร

ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองกระบุรี

ชุมชนหลังสวน

Slide
บ้านในวง

บ้านในวง

หัวรถไฟ
สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2

สะพานแดงปากน้ำตะโก

บ้านในวง

พิพิธภัณฑ์เชิงประวัติศาสตร์
สงครามโลกครั้งที่ 2

previous arrow
next arrow
เส้นทางท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บริเวณเส้นทางการค้าดินแดนสุวรรณภูมิ จังหวัดชุมพรและระนอง (ท่องเที่ยวเส้นทางศุทรา)
เส้นทางศุทรา คือ เส้นทางที่มีความบริสุทธิ์ เปรียบเสมือนดินแดนสุวรรณภูมิที่มีคุณค่า เป็นพื้นที่แสวงหาโอกาส แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของคนหลากหลายเชื้อชาติ

เส้นทางท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์บริเวณเส้นทางการค้าดินแดนสุวรรณภูมิ จังหวัดชุมพรและระนอง

ดำเนินการภายใต้ โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร” (Artificial Intelligent Platform Development for Metaverse Historical Tourism: AI-MHT) เป็นโครงการนำร่องจังหวัดระนอง ชุมพร เพื่อพัฒนาเส้นทางสายวัฒนธรรม ภูมิอารยธรรมสุวรรณภูมิ จากร่วมรากสู่ร่วมสมัย ทำการศึกษา สำรวจ เก็บข้อมูลเส้นทางการค้าข้ามคาบสมุทรในจังหวัดชุมพรและระนอง ในด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม ความสัมพันธ์ของผู้คน สังคม และวิถีชีวิต เพื่อวางแนวทางและส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม โดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาช่วยสนับสนุนข้อมูล เพื่อนำมาวางแผนและเพิ่มความสุนทรียะในการเดินทาง 

กิจกรรม

 กิจกรรม ร่วมสนุก AI-MHT     เส้นทางท่องเที่ยวศุทรา

กิจกรรมร่วมสนุกลุ้นรับ ของที่ระลึกจากโครงการ การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT)  ในกิจกรรมท่องเที่ยวเส้นทางศุทรา  จังหวัดชุมพร และจังหวัดระนอง ได้ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2567 เป็นต้นไป หรือจนกว่าของที่ระลึกจะหมด สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ตาม ร้านค้า 

ร้านอาหาร ร้านขายของฝาก และร้านคาเฟ่ ที่เข้าร่วมโครงการ

กติกาที่ 1 

  1. เพียงท่านร่วมตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ ของโครงการ ให้ถูกต้อง 70 % ขึ้นไป
  2. ผู้เข้าร่วมจะได้รับผลคะแนน ทาง E-mail 
  3. แสดงผลคะแนนให้ทาง เจ้าหน้าที่/พนักงาน เพื่อรับของที่ระลึก

กติกาที่ 2

เพียงท่าน เช็คอิน ตามสถานที่ท่องเที่ยว บนเส้นทางศุทรา ครบ 10 จุด ผ่านแพลตฟอร์ม Lineแชทบอท แพลตฟอร์มแชทบอท แหลง-ต๊ะ (Land of Gold-Talk คุยเฟื่องเรื่องสุวรรณภูมิ) ก็สามารถขอรับของที่ระลึกจากโครงการ  การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักวาลนฤมิตร (AI-MHT) ได้เช่นกัน

งาน “วันนักประดิษฐ์” ประจำปี 2567 (Thailand Inventors’ Day 2024) 

เมื่อวันที่ 2 ก.พ. 67 ทีมนักวิจัย โครงการการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร ได้ร่วมกิจกรรมงาน “วันนักประดิษฐ์ ประจำปี 2567” (Thailand Inventors’ Day 2024) ภายใต้แนวคิด “สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมนำประเทศ” ซึ่งจัดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 25 เพื่อน้อมรำลึกถึงวันประวัติศาสตร์ การทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตรการประดิษฐ์ “กังหันน้ำชัยพัฒนา” แด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร “พระบิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย”   ณ อีเวนต์ ฮอลล์ 100-102 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

การนำเสนอผลงานวิจัยต่อรัฐมนตรี ในกิจกรรม ครม.สัญจร จังหวัดระนอง 

วันที่ 22 มกราคม 2567 ที่ผ่านมา ทีมวิจัยได้มีโอกาสนำเสนอผลงานวิจัยต่อรัฐมนตรีในจังหวัดระนอง
ในครั้งนี้ทีมงานวิจัยได้แบ่งทีมงานเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกจะนำเสนอและต้อนรับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ณ.ที่ทำการกลุ่มเซรามิกบ้านหาดส้มแป้น นักวิจัยอีกกลุ่มจะนำเสนองานวิจัยในวัดหงาว ซึ่งเป็นการลงพื้นที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
งานทุกอย่างสำเร็จไปด้วยดี ต้องขอขอบคุณนักวิจัยทุกท่านที่ร่วมกันสร้างผลงานขึ้นมา ผู้นำเสนอและชุมชนต่าง ๆ ที่สนับสนุนพวกเราจนประสบความสำเร็จ

กิจกรรม ลงพื้นที่ติดป้ายแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์

ทีมวิจัยในโครงการ AI-MHT ลงพื้นที่ติดตั้งป้ายแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวร่วมกับชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่ของจังหวัดชุมพร และจังหวัดระนอง เพื่อเตรียมความพร้อมในการใช้แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบนเส้นทางท่องเที่ยวศุทรา ภายใต้โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT) 

จังหวัดชุมพร ได้แก่ พระบรมธาตุสวี ศาลกรมหลวงชุมพร ร้านกาแฟถ้ำสิงห์ ณ เขามัทรี หาดอรุโณทัย ร้านอยุ่แต่สวนคาเฟ่

จังหวัดระนอง ได้แก่ วัดหงาว ร้านขายของฝากวัชรี โรรงแรมฟาร์มเฮาส์และร้านขายของฝาก ก.ไก่ บ่อน้ำร้อนรักษะวาริน ร้านอาหารคุ้นลิ้น พระราชวังรัตนรังสรรค์ ร้านอาหารเคียงเล เขาฝาชี ณพิพิธภัณฑ์เชิงประวัติศาสตร์สงครามโลก ครั้งที่ 2

แนะนำการใช้แพลตฟอร์มแพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ สำหรับการท่องเที่ยว

เป็นแพลตฟอร์มการท่องเที่ยวในเส้นทางสุวรรณภูมิโดยอาศัยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่ถูกพัฒนาโดยโครงการการพัฒนาแพลตปัญญาประดิษฐ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์สู่จักวาลนฤมิตร (AI-MHT) และได้เรียนรู้จากสถานที่จริง เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่เริ่มต้นเดินทางที่ไม่มีข้อมูลแพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์จะเป็นตัวช่วยในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลนั้นได้ และสามารถช่วยทำให้วางแผนในการท่องเที่ยวได้ ไม่ว่าจะเป็นเส้นทางหลัก หรือเส้นทางรองในแต่ละเส้นทางจะมีเอกลักษณ์และวิถีชีวิตของชุมชน และธรรมชาติที่สวยงาม

362271228_609344441386992_3273172733428456598_n
362646444_609344481386988_560079199462215442_n
362897532_609740458014057_483294343242249000_n
362644653_609344401386996_789005779055517940_n
362911387_609344348053668_3545032895082203518_n
PlayPause
362271228_609344441386992_3273172733428456598_n
362646444_609344481386988_560079199462215442_n
362897532_609740458014057_483294343242249000_n
362644653_609344401386996_789005779055517940_n
362911387_609344348053668_3545032895082203518_n
previous arrow
next arrow

วช. ร่วมกับสมาคมปัญญาประดิษฐ์
จัดกิจกรรมการทดสอบแพลตฟอร์ม AI

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ สมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย (สปปท.) จัดกิจกรรมการทดสอบแพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์บนเส้นทางท่องเที่ยวศุทรา ภายใต้โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT) เพื่อประเมินผลการใช้งานแพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ เกมออนไลน์ และทดสอบต้นแบบเส้นทางการท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์บริเวณพื้นที่เส้นทางข้ามคาบสมุทรจังหวัดระนอง และ จังหวัดชุมพร โดยมี ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวถึงแนวทางสนับสนุนการพัฒนางานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ สำหรับการท่องเที่ยว พร้อมด้วย ดร.เทพชัย ทรัพย์นิธิ อุปนายกสมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นงนุช เกตุ้ย หัวหน้าโครงการวิจัย กล่าวชี้แจงกิจกรรมและกล่าวต้อนรับ และมี นายธนกร บริสุทธิญาณี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง นายสมโชค วงศ์วิวัฒนา ประธานสภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจังหวัดระนอง ว่าที่ร้อยตรี กฤษฎา ฉิมพลีวัฒน์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนระนอง นายสุนทร เตชิน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน บ้านในวงเหนือ และคณะผู้ทรงคุณวุฒิ วช. เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ณ บ้านในวง ตำบลบ้านในวงเหนือ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง

402186898_297159189885933_5314394408204917199_n
402159890_297158486552670_801403578504989205_n
402155698_297158529885999_4455897974362505496_n
402139986_297159109885941_5463930314756006507_n
402119081_297158473219338_8126997940609970947_n
400069707_297159279885924_7560288337380384_n
400067144_297159139885938_3329124153238687892_n
399568943_294985100103342_2994004186421987080_n
399580301_294984966770022_2529225185472451631_n
399583145_294984913436694_5797433586421745484_n
399708726_294984976770021_5051083597923218211_n
399884376_294985163436669_7525150459314716998_n
400043237_294984886770030_5940926025445999690_n
399971840_294984770103375_6146001062529790606_n
PlayPause
402186898_297159189885933_5314394408204917199_n
402159890_297158486552670_801403578504989205_n
402155698_297158529885999_4455897974362505496_n
402139986_297159109885941_5463930314756006507_n
402119081_297158473219338_8126997940609970947_n
400069707_297159279885924_7560288337380384_n
400067144_297159139885938_3329124153238687892_n
399568943_294985100103342_2994004186421987080_n
399580301_294984966770022_2529225185472451631_n
399583145_294984913436694_5797433586421745484_n
399708726_294984976770021_5051083597923218211_n
399884376_294985163436669_7525150459314716998_n
400043237_294984886770030_5940926025445999690_n
399971840_294984770103375_6146001062529790606_n
previous arrow
next arrow

ลงพื้นที่ประสานงานร่วมกับชุมชน

ทีมนักวิจัยในโครงการ AI-MHT ลงพื้นที่ประสานงานร่วมกับชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่ของจังหวัดระนอง เพื่อเตรียมความพร้อมในการใช้แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบนเส้นทางท่องเที่ยวศุทรา ภายใต้โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์

เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT) 

ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2566 เวลา 08.30-16.00 น. ณ วัดพระบรมธาตุสวี จังหวัดชุมพร            และในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2566 เวลา 08.30-12.00 น. ณ วิทยาลัยชุมชนระนอง จังหวัดระนอง

กิจกรรมนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร สมาคมประชาสังคมชุมพร/กลุ่มสุวรรณภูมิศึกษา ชุมพร-ระนอง รองประธานคณะทำงานสุวรรณภูมิศึกษา จังหวัดชุมพร ตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลสวี และภาคชุมชน และได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์จากวิทยาลัยชุมชนระนอง กำนันจากชุมชนบ้านหงาว ตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง และตัวแทนผู้ประกอบการด้านท่องเที่ยว

395791193_663734469281322_1857893281426318507_n
395940051_663734959281273_6801588805852385323_n
395864097_663734539281315_4170498762473839962_n
395787722_663734629281306_4452158735467190624_n
395802785_663734675947968_7298917212964561311_n
395804794_663734662614636_3490993066837120262_n
396483725_663734419281327_7519410061353497462_n
395805630_663734852614617_2383461082140564703_n
395772664_663734949281274_9039947215188742747_n
395826159_663734895947946_3475477725399325060_n
395819580_663732052614897_8185476288299237128_n
395809841_663734915947944_4427340244303087830_n
395806009_663732039281565_135334280719434935_n
previous arrowprevious arrow
next arrownext arrow

งานครบรอบ 64 ปี วช.

ทีมนักวิจัย AI-MHT ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นงนุช เกตุ้ย หัวหน้าโครงการ และ 

ดร.ณสิทธิ์ เหล่าเส็น ผู้ร่วมวิจัย เข้าร่วมเสวนา หัวข้อ AI ปัญญาประดิษฐ์เพื่อการท่องเที่ยว

ที่ยั่งยืน เนื่องในดอกาสสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ครบรอบ 64 ปี  สร้างองค์ความรู้เชิดชูเกียรตินักวิจัย พัฒนาประเทศไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม

aimht-fb-27
aimht-fb-18
aimht-fb-13
aimht-fb-17
IMG_1038
IMG_2550
IMG_2577
IMG_2870
IMG_1835
IMG_1919
IMG_2674
IMG_2618
IMG_6289
IMG_6845
IMG_3225
30270
previous arrowprevious arrow
next arrownext arrow

การทดสอบ แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ สำหรับการท่องเที่ยว

โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT)” จัดเวทีแนะนำโครงการและนักวิจัย ทดสอบแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์สำหรับการท่องเที่ยว แก่หน่วยงานราชการและผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวเอกชนในพื้นที่จังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง 

ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชุมพร ในวันที่ 19 กรกฏาคม ที่ผ่านมา

โดยนักวิจัยมาจากหน่วยงานต่าง ๆ  ได้แก่ 

สมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย, มหาวิทยาลัยรังสิต, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC), มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน

ภาพกิจกรรม ลงพื้นที่ติดป้ายแนะนำสถานที่ท่องเที่ยงเชิงประวัติศาสตร์